วันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555

๓. ซอฟแวร์ประยุกต์

ซอฟแวร์ประยุกต์  (application software) หมายถึง โปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานเฉพาะอย่างตามความต้องการของผู้ใช้ ซอฟแวร์ประยุกต์ที่ได้รับความนิยม เช่น โปรแกรมประมวลผลคำ โปรแกรมคำนวณ โปรแกรมจัดฐานข้อมูล โปรแกรมหาข้อมูลทางอินเทอเน็ต เป็นต้น ซึ่งซอฟแวร์ประยุกต์สามารถแบ่งออกเป็น ประเภท ได้แก่ ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน และซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป

๓.๑ ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน ( application software for specific surpose) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อนำไปใช้กับงานในองค์กรใดองกรค์หนึ่งโดยเฉพาะ ออกแบบและสร้างขึ้นโดยผู้ผลิตซอฟแวร์ที่มีความชำนาญด้านนั้นๆ หรือพัฒนาบุคลากรฝ่ายคอมพิวเตอร์ขององครก์ได้ โดยผ่านการวิเคราะห์ ออกแบบ ลงมือสร้าง และทดสอบโปรแกรมให้สามารถทำงานได้ถูกต้องจึงจะสามารถนำมาใช้งานได้ เช่น โปรแกรมคำนวณภาษีของกรมศุลกากร โปรแกรมฝากถอนเงินของธนาคาร โปรแกรมระบบสินค้าห้างสรรพสินค้า เป็นต้น



๓.๒ ซอฟแวร์ประยุกต์ทั่วไป

ซอฟแวร์ประยุกต์ ( general purpose software) เป็นซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับงานที่เหมาะสมกับลักษณะงานของผู้ใช้คอมพิวเตอร์เรียกว่า ฐานข้อมูล (database) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลเป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่สร้างฐานข้อมูลและจัดการเก็บข้อมูลเป็นระบบ เพื่อนให้ง่ายต่อการจัดการกับข้มูลให้เป็นระบบ เพื่อให้ง่ายต่อการจัดข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการเรียกค้นข้อมูล การปรับปรุงข้อมูล การเพิ่มข้อมูล และการลบข้อมูล ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้ เช่น  Dbase, Paradox, Foxbase, Microsoft Access เป็นต้น 

 โปรแกรมที่จัดฐานข้อมูลจะเก็บข้อมูลในรูปแบบของตารางที่มีความสัมพันธ์กัน แต่ละตารางจะแระกอบด้วยแถวที่เรียกว่า ระเบียน หรือ เรคคอร์ด (recode) และคอลัมน์ที่เรียกว่าจะมีการจัดเก็บประวัตินักเรียน ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดข้อมูล ได้แก่ เลขประจำตัว ชื่อ นามสกุล วันเกิด เพศ ที่อยู่ และเบอร์โทรศัพย์

๒๗ ซอฟแวร์ประมวลผลคำ (word processing software) เป็นซอฟแวร์ประยุกต์ในการสร้าง แก้ไบ เพิ่ม ลบ และจัดการรูปแบบเอกสาร ทำให้เอกสารมีรูปแบบที่สวยงาม น่าสนใจ .งจะถูกจัดเป็นแฟ้มข้อมูล (file) สามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้ และพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์ได้ด้วย ซอฟแวร์ประมวลผลที่นิยมใช้ เช่น Microsoft office word, adobe PageMaker, CorelDraw, WorldPerfect, OpenOffice Writer, Pladao Office เป็นต้น

) ซอฟแวร์ทำการคำนวณ (calculating software) เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยในการคิดคำนวณ การทำงานของซอฟแวร์ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทำงานที่มีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มีเครื่องมือคล้ายปากกา ยางลบ และเครื่องคำนวณเตรียมไว้ให้ บนกระดาษมีช่องใส่ตัวเลข ข้อความหรือสูตร สามารถสั่งใก้คำนวณได้ตามสูตรหรือเงื่อนไขที่กำหยด นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถสร้างกราฟเพื่อนำเสนอได้ง่าย ซอฟแวร์ที่นิยมใช้ เช่น Microsoft Office Excel, OpenOffice Calc ในโปรแกรมชุด Pladao Office เป็นต้น

๔)ซอฟแวร์นำเสนอข้อมูล (professional software) เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ สร้างเอกสารที่ประกอบด้วยตัวอักษร รูปภาพ แผนผัง ภาพเคลื่อนไหว นิยมใช้ในการนำเสนอข้อมูลในการระบายชั้นเรียนหรือการประชุม ซอฟแวร์ที่นิยมใช้ เช่น Microsoft Office Powerpoint, OpenOffice Impress, Pladao Office เป็นต้น

๕)ซอฟแวร์ด้านกราฟฟิกและมัลติมิเดีย (graphic and multimedia software) เป็นโปรแกรมที่สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อชวนในการทำงานด้านกราฟฟิกและมัลติมีเดีย เช่นตกแต่งภาพ วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว สร้างสรรค์งานสั่งพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็นนิตยสาร หนังสือพิมพ์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ รวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซต์ ให้มีรูปแบบสวยงาม ทันสมัย เหมาะกับสื่อแต่ละประเภท เป็นโปแกรมที่ง่ายต่อการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง มีลูกเล่นหลากหลาย สามารถสั่งงานตามความต้องการได้ง่าย ซึ่งถือเป็นโปรแกรมที่มีประโยชน์ต่อผู้ใช้งานทุกระดับ

๖) ซอฟแวร์การใช้งานบนเว็บซต์และการติดต่อสื่อสาร (Web site and communications software) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาเพื่อการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งการเติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทำมห้มีผู้พัฒนาโปแกรมเพื่อใช้งานเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น เช่น โปแกรมสำหรับการตรวจสอบอีเมล การท่องเว็บไซต์ การจัดการและการดูแลเว็บไซต์ส่งข้อความ รวมถึงการประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย เป็นต้น

การเลือกใช้ซอฟแวร์ประยุกต์

การเลือกใช้ซอฟแวร์ให้เหมาะสมกับงานมีขั้นตอนดังนี้

๑.สำรวจงานที่ผู้ใช้งานซอฟแวร์ต้องการใช้ซอฟแวร์อย่างละเอียดว่ามีลักษณะงานแบบใด

๒. สำรวจฮาดแวร์และระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ ได้แก่ ระบบปฏิบัติการความเร็วของหน่วยประมวลผลกลาง ความจุของหน่วยความหลัก ความจุของหน่วยความจำรอง และความจุของการ์ดแสดงผล

๓.ทดลองใช้ซอฟแวร์อย่างน้อย ๑๕ นาที เพื่อพิจารณาถึงประสิทธิภาพการใช้งานโดยใช้งานง่าย ไม่มีข้อผิดพลาด มีระบบความช่วยเหลือ มีคู่มือการใช้งานที่อ่านเข้าใจง่าย

๔.ศึกษาเปรียบเทียบกับซอฟแวร์ที่มีความสามารถใกล้เคียงกัน โดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ

๕.ศึกษาข้อมูลบริการหลังการขายและระยะเวลาในการรับประกัน

๖.ทำความคุ้นเคยกับการใช้ซอฟแวร์ประมาณ๑สัปดาห์ ก่อนนำไปใช้งานและควรเลือกบริษัทผู้ผลิตซอฟแวร์ที่เปิดโอกาศให้คืนซอฟแวร์ที่ซื้อไปไม่น้อยกว่า 30 วัน

๔ การจัดหาซอฟแวร์เพื่อมาใช้ในบ้าน

สามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

๑)     รูปแบบสำเร็จ (packaged or ready-made software) เป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อได้จากตัวแทนจำหน่ายซอฟแวร์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว ผู้ใช้สามารถเลือกซื้อผ่านร้านตัวแทนจำหน่าย เมื่อรายละเอียดเกี่ยวข้องกับการจ่ายชำระเงินของผู้ซื้อได้รับการอนุมัติแล้ว ก็สามารถดาวโหลดเอาซอฟแวร์มาใช้งานได้ทันที

๒)     แบบว่าจ้างทำงาน (customized or tailor-made software) เป็นว๊ะที่เหมาะสำหรับองกรค์ที่มีลักษณะงานเฉพาะตนเองและม่สามารถนำโปรแกรมมาประยุกต์ใช้ได้ ดังนั้น จึงต้องผลิตซอฟแวร์ขึ้นมาเอง โดยให้บุคคลภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านผลิตที่ตรงกับความต้องการ

๓)     แบบทดลองใช้ (shareware) เป็นวิธีการที่บริษัทผู้ผลิตซอฟแวร์ได้ผลิตโปรแกรมที่ปรับลดคุณสมบัติบางอย่างลงไป เพื่อให้ลูกค้าทดลองการใช้งานก่อน โดยมีการกำหนดระยะเวลาทดลองการใช้งาน เช่น ภายใน 30 วัน 60 วัน 90 วัน เป็นต้น

๔)     แบบใช้งานฟรี (freeware) เป็นโปรแกรมแจกฟรี เพื่อตอบสนองกับการทำงานที่หลากหลาย ซึ่งผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องจ่ายเงินให้กับบริษัทผู้ผลิต เป้าหมาย คือ เผยแพร่ผลงานของตนเองให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นและทดสอบระบบที่พัฒนาขึ้น ซอฟแวร์ประเภทนี้ยังมีลิขสิทธิ์เป็นของผู้ผลิตอยู่ผู้อื่นไม่สามารถพัฒนาหรือแก้ไขได้

๕)     แบบโอเพนซอร์ซ ( open source ) เป็นวิธีการขององกรค์ที่มีกลุ่มบุคคลผู้มีความรู้และความเชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนาขึ้น เพื่อนให้ผู้ใช้นำไปใช้ได้ฟรี รวมทั้งสามารถแก้ไข หรือพัฒนาโปแกรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับงานของตนเอง

( ยังไม่ครบ )

1 ความคิดเห็น: